ศาลหลักเมืองนับเป็นหนึ่งในสถานที่ที่คนในพื้นที่มักขอพรและบนให้ประสบความสำเร็จ ผู้ที่ย้ายถิ่นฐานและทำมาหากินในต่างพื้นที่มักมาไหว้สักการะ
ความเชื่อในการสร้างศาลหลักเมืองเป็นความเชื่อมาตั้งแต่โบราณกาล ประเทศไทยได้ยึดถือประเพณีและธรรมเนียมหลากหลายอย่างตามศาสนาพราหมณ์ที่มีที่าจากประเทศอินเดีย ในการสร้างเมืองแต่ละครั้งก็จะมีการทำพิธีเพื่อให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์มาสถิตที่เสาหลักเมือง เพื่อปกป้องรักษาคุ้มครองเมืองและประชาชน
มีตำนานและการเล่าต่อกันมามากว่าในการทำพิธีสร้างเสาหลักเมืองจะต้องฝังคนเป็นลงไปในหลุม เพื่อให้วิญญาณเฝ้าเสาหลักเมือง บางจังหวัดอย่างเช่นภูเก็ตมีเรื่องเล่าว่าต้องใช้ผู้หญิงท้องเท่านั้น โดยนักวิชาการเชื่อกันว่าเรื่องราวเหล่านี้เป็นเพียงเรื่องเล่าและไม่ได้มีการบันทึกในพงศาวดารใด ๆ
แตกต่างออกไปในแต่ละพื้นที่ ขึ้นอยู่กับความเชื่อและความศรัทธาของสถานที่นั้น ๆ อย่างศาลหลักเมืองในกรุงเทพฯ จะมีขึ้นตอนและรายละเอียดบอกกล่าวอย่างชัดเจน
เนื่องจากความเชื่อในการสร้างศาลหลักเมือง ได้ถูกแผ่แพร่ไปยังจังหวัดหรือเดิมหัวเมืองต่าง ๆ ทำให้ปรากฏศาลหลักเมืองอยู่ทุกจังหวัด และบางจังหวัดอาจมีเรื่องเล่าและความแตกต่างที่น่าค้นหาเป็นอย่างมาก อาทิเช่น จังหวัดภูเก็ตที่มีศาลหลักเมืองอยู่ถึง 4 แห่ง เป็นต้น สำหรับสายมูคงห้ามพลาดการสักการะศาลหลักเมืองในแต่ละพื้นที่ครั้งหน้าที่ออกไปเที่ยวกันนะ
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ปรากฏว่าแต่เดิมการสร้างเมืองคั้งแรกใช้คำว่า "สะดือเมือง" ไม่ใช้คำว่า "เสาหลักเมือง" ถูกสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2530 เป็นการรำลึกถึงพญามังรายมหาราช ที่สร้างเมืองเชียงรายขึ้นและเป็นการฉลองการสร้างเมืองเชียงรายครบ 725 ปี ณ ขณะนั้น เชียงรายมีถึง 3 แห่ง ตั้งอยู่ในวัดกลางเวียง ในอำเภอแม่สาย และเสาสะดือเมือง 108 หลัก วัดพระธาตุดอยจอมทอง
พิกัด: ตั้งอยู่ในบริเวณพระธาตุดอยจอมทอง Google Maps
25 ถนน ไตรรัตน์ ตำบล รอบเวียง อำเภอเมืองเชียงราย เชียงราย 57000
เสาอินทขิล หรือ เสาหลักเมืองของเชียงใหม่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1839 ตั้งแต่สมัยที่พ่อขุนเม็งรายมหาราชสถาปนาเชียงใหม่ขึ้นเป็นราชธานี เดิมตั้งอยู่ที่วัดอินทขีลสะดือเมือง (วัดสะดือเมือง) ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ ต่อมาปี พ.ศ. 2343 พระเจ้ากาวิละ (เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่) ได้ฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ได้ย้ายเสาอินทขิล มาประดิษฐานอยู่ ณ วัดเจดีย์หลวง
พิกัด: Google Maps
103 ถนน พระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
Source: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, กระทรวงวัฒนธรรม
"ใจเมือง" ศูนย์รวมที่สักการะของคนน่านหรือที่เรียกกันว่า "เสามิ่งเมือง" สร้างขึ้นวันที่ 15 เมษายน 2331 โดยสมเด็จเจ้าฟ้าอัตถะวรปัญโญ เจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 57 ณ บริเวณใกล้หอคำวัดร้างเก่า (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน) เสาหลักเมืองปัจจุบันได้ถูกปรับแต่งใหม่ให้หัวเสามีรูปเป็นพระพรหมสี่หน้าและประกอบพิธีตั้งเสาหลักเมืองน่าน เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2516
พิกัด: วัดมิ่งเมือง หรือ วัดเงิน Google Maps
42 ถนน สุริยพงษ์ ตำบล ผาสิงห์ อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
Source: ไทยรัฐออนไลน์, ผู้จัดการออนไลน์
ศาลาจตุรมุขทรงไทย มีประตูเข้า-ออก 4 ด้าน ถูกสร้างขึ้นเมือปี พ.ศ. 2520 หลักจากได้ยกฐานะจากอำเภอหนึ่งของเชียงรายเป็นจังหวัด สร้างเสร็ตในปี พ.ศ. 2530 ออกแบบโดยรองศาสตราจารย์ ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี หลังคามีลักษณะเป็นยอดปราสาท เสาหลักเมืองทำจากไม้มงคล ยอดเสาแกะสลักเป็นรูปดอกบัวตูม สามารถกราบไหว้ได้จากทั้ง 4 ทิศ
พิกัด: Google Maps
Source: Museum Thailand
ศาลหลักเมืองนี้ถูกสร้างขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2535 ตั้งคู่กับศิลาจารึกเก่าแก่ที่เขียนถึงการสร้างวัดศรีบุญเริง วัดในอดีตสัมยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พิกัด: Google Maps
Source: สำนักงานจังหวัดแพร่
ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองแม่สะเรียง ศาลเจ้าพ่อข้อมือเหล็ก
พิกัด: Google Maps (แม่สะเรียง)
Source:
ประด้วยกันเสาหลักเมือง 3 หลัก เป็นอาคารมณฑปทรงไทย มีทางเข้า-ออก 2 ด้าน
เสาหลักเมืองหลักที่ 1 สร้างประมาณปี พ.ศ. 2400 ในสมัยของเจ้าวรญาณรังษีราชธรรมได้ฝังเสาหลักเมืองหลักนี้ ณ วัดปงสนุก ถือเป็นวัดสะดือเมืองในสมัยนั้น
เสาหลักเมืองหลักที่ 2 สร้างประมาณปี พ.ศ. 2416 ในสมัยเจ้าพรหมาธิพงษ์ธาดา ณ ฝั่งเมืองปัจจุบัน บริเวณคุ้มราชวงศ์เก่า
เสาหลักเมืองหลักที่ 3 สร้างประมาณปี พ.ศ. 2430 ในสมัยเจ้าหลวงนรนันชัยชวลิต
ได้อัญเชิญ 3 เสาหลักเมืองมาประดิษฐานหลักสร้างศาลากลางจังหวัดเสร็จในปี พ.ศ. 2440
พิกัด: Google Maps
Source: ศาลหลักเมือง
ศาลหลักเมืองเชียงใหม่-ลำพูน ถือเป็นเสาที่เป็นแนวเขตแบ่งระหว่างเมืองลำพูนและเมืองเชียงใหม่อีกด้วย
พิกัด: Google Maps
พิกัด: Google Maps
102 ตำบล ทุ่งยั้ง อำเภอ ลับแล อุตรดิตถ์ 53210
ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองกาฬสินธุ์ เชื่อว่าเป็นหลักเมืองโบราณ มีการลงยันต์ตรีนิสิงเห (มนต์คาถาพม่าเขมร) ต่อได้รับการบูรณะ ในปี พ.ศ. 2479
พิกัด: Google Maps
ถนน อนรรฆนาค ตำบล กาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ กาฬสินธุ์ 46000
Source: Gplace
ศาลหลักเมืองแห่งนี้สร้างด้วยการผสมผสานวัฒนธรรมไทยและจีนไว้ด้วยกัน ศาลหลักเมืองปัจจุบันสร้างขึ้นใน ปี พ.ศ. 2550 โดยย้ายมาศาลหลักเมืองเดิมตั้งอยู่ บ้านโนนเมือง อำเภอชุมแพ ด้านข้างขอศาลหลักเมืองจะมีทั้งเทวสถานพระแม่ธรณีและเสาเทวดาฟ้าดินสีแดง
พิกัด: Google Maps
Source: Pa Lan La
พิกัด: Google Maps
Source: คลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด
ยังไม่มีการตั้งศาลหลักเมืองอย่างเป็นทางการโดยจะมีศาลหลักเมืองเก่า หลักเมืองสี่มุม (จตุรัส) และหลักเมืองบ้านเพชร (ภูเขียว) และศาลเจ้าพ่อพระยาแล
พิกัด: Google Maps
พิกัด: Google Maps
พิกัด: Google Maps
ศาลหลักเมืองนครพนมทำมาจากไม้กันเกรา (ไม้มันปลา) ต้นไม้มงคลและต้นไม้ประจำจังหวัด โดยยอดจัตุรมุขมีลักษณะเหมือนองค์พระธาตุพนม
พิกัด: Google Maps
Source: Thailand Tourism Directory
ศาลหลักเมืองคู่เมืองโคราชมาตั้งแต่สมัยพระนารายณ์มหาราช ระหว่างปี พ.ศ. 2199 - 2231 แต่ถูกทำลาช่วงเจ้าอนุวงศ์ยกทัพมายึดเมืองนครราชสีมาในปี พ.ศ. 2369 ศาลหลักเมืองปัจจุบันได้ถูกบูรณะขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2506 มีลักษณะเป็นศาลเจ้าแบบจีน
พิกัด: Google Maps
352 ถ. จอมพล ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา นครราชสีมา 30000
Source: Thailand Tourism Directory, WeKorat
ชาวบ้านยึดถือศาลเจ้าแม่สองนางแทนเสาหลักเมือง มีตำนานเล่าถึงลูกหลานของเจ้าเมืองนักรบเวียงจันทร์สมัยโบราณที่ชาวบ้านในอีสานหลายจังหวัดเชื่อว่าเป็นบรรพบุรุษของตน
พิกัด: Google Maps
Source: เทศบาลเมืองบึงกาฬ
ศาลหลักเมืองสร้างเลียนแบบมาจากปราสาทหินพนมรุ้ง ถูกสร้างขึ้นใหม่ระหว่างปี พ.ศ. 2548 - 2550 เชื่อกันว่าบริเวณนี้เคยใช้เป็นจุดพักรบในสมัย ร. 1 ยังเป็นสเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกอีกด้วย โดยมีชื่อเมืองเดิมว่าเมืองแปะ (จากต้นแปะขนาดใหญ่)
พิกัด: Google Maps
Source: Pa Lan La
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
ศาลหลักเมืองอุดรธานี สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2502 โดยการอัญเชิญดวงวิญญาณของพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม ผู้ที่ทรงก่อตั้งเมืองอุดรธานี ให้มาสถิตย์ที่เสาหลักเมืองด้วยและมีการสร้างศาลหลักเมืองใหม่ในปี พ.ศ. 2542 รอบบริเวณหลักเมืองมี ท้าวเวสสุวรรณและหลวงพ่อพระพุทธโพธิ์ทองให้สักการะอีกด้วย
พิกัด: Google Maps
Source: TAT Contact Center, True ID
ศาลหลักเมืองแห่งนี้ถูกสร้างขึ้นเมืองปี พ.ศ. 2519 มีอนุสาวรีย์พระอุบาลีคุณูปมจารย์ (สิริจนฺโท จันทร์) และอนุสาวรีย์ สมเด็จพระมหาวีระวงศ์ (ติสโส อ้วน)
พิกัด: Google Maps
ถนน ศรีณรงค์ อำเภอเมืองอุบลราชธานี อุบลราชธานี 34000
Source: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ถูกสร้างขึนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 โดยใช้ไม้มงคล "ไม้ราชพฤกษ์ (คูณ)" ยอดของเสาเป็นทรงแก้ว 9 ชั้นคล้ายศาลหลักเมืองกรุงเทพฯ
พิกัด: Google Maps
Source: อีสาน 108
พิกัด: 2 ถนนหลักเมือง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
เป็นศาลหลักเมืองที่ความสวยงามอย่างมากแห่งหนึ่งของไทย เพราะสร้างในรูปแบบของศิลปะลพบุรี องค์หลักเมือง "จตุโชค" ภายในศาลหลักเมืองนั้น มีกำเนิดตรงกับวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2535 ณ เทือกเขาเขตบ้านย่านซื่อ ตำบลหาดขาม อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ดยมีขนาดความสูง 2.74 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.37 เมตร และมีสี่เศียร สี่พักตร์ แกะสลักลายไทย ศิลปะศรีวิชัยทั้งองค์
พิกัด: Google Maps
Source: ศาลหลักเมือง ประจวบคีรีขันธ์
พิกัด:
Source:
พิกัด:
Source:
ตั้งอยู่หน้าที่ทำการของศาลากลางจังหวัดกระบี่ เดิมในปี พ.ศ. 2415 พระเจ้าอยู่หัว ร. 5 ยกฐานะแขวงเมืองปกาสัยขึ้นเป็น "เมืองกระบี่" ตั้งเมืองอยู่ที่ บ้านตลาดเก่า และย้ายมาที่ปัจจุบัน บ้านปากน้ำในปี พ.ศ. 2443
พิกัด: Google Maps
สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 ในโอกาสเฉลิมฉลอง 600 ปีจังหวัดชุมพร
พิกัด: Google Maps
243 ถนนปรมินทรมรรคา ตำบล ท่าตะเภา อำเภอเมืองชุมพร ชุมพร 86000
Source: ฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ท่องเที่ยวภาคใต้ตอนบน
สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2355 พิธีตั้งศาลหลักเมืองในยุคสมัยที่ “หลวงอุไภยธานี” อยู่ในอำเภอกันตัง ซึ่งถือเป็นที่ตั้งเมืองเก่าของจังหวัดตรัง มีปืนใหญ่โบราณวางอยู่โดยรอบ
พิกัด: Google Maps
Source: ผู้จัดการออนไลน์, สยามรัฐ, กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
มีลักษณะคล้ายศิลปะศรีวิชัยที่เรียกว่าทรงเหมชาลา ก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์เมื่อปี พ.ศ. 2542 ประกอบด้วยอาคาร 5 หลัง หลังกลางคือพระหลักเมืองและ 4 หลักที่เหลือรอบ ๆ คือศาลาจตุโลกเทพ ประกอบด้วย พระเสื้อเมือง ศาลทรงเมือง ศาลพระพรหมเมือง และศาลพรบันดาลเมือง องค์เสาหลักเมืองทำด้วนไม้ตะเคียนทอง ด้านบนเสาเป็นรูปจตุคารามเทพ (สี่พักตร์) หรือ เทวดารักษาเมือง รวมถึงความเชื่อ “พังพระกาฬ” พระคู่บ้านคู่เมืองแห่งอาณาจักรศรีวิชัยที่มีความเกี่ยวพันกับจตุคามรามเทพ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นจักรพรรดิของอาณาจักรโบราณ
พิกัด: Google Maps
Source: Pa Lan La, สำนักงานจังหวัดนครศรีธรรมราช
วิหารมีรูปแบบศิลปะสมัยศรีวิชัย
พิกัด: Google Maps
Source: Thai Tour
สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2494 ในสมัยพระยารัตนภักดีเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด
พิกัด: Google Maps
Source: เทศบาลเมืองปัตตานี,
ศาลหลักเมืองพังงา หรือศาลเจ้าแม่สายทอง ก่อสร้างขึ้นเมืองประมาณร้ายกว่าปีก่อน เชื่อกันว่าเป็นที่ฝังนางสายทองที่ถวายดวงวิญญาณเพื่อปกป้องรักษาเมือง ศาลหลักเมืองปัจจุบันสร้างเสร็จ พ.ศ. 2544 มีการสักการะวันที่ 5 มกราคมของทุกปี
พิกัด: Google Maps
Source: สวัสด, อันแน่ออนทัวร์
เริ่มการสมทบทุนเมื่อปี พ.ศ. 2553 และเปิด พ.ศ. 2563
พิกัด: Google Maps
Source: เทศบาลตำบลท่ามิหรำ, หน่วยราชการในพระองค์
“ศาลหลักเมืองท่าเรือ” หรือ “ศาลหลักเมืองย่าดวง” ตั้งอยู่บริเวณชุมชนบ้านท่าเรือ อำเภอถลาง ซึ่งเป็นชุมชนโบราณที่มีหลักฐานมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 700 เป็นยุคแรก ๆ ที่มีการติดต่อซื้อขายสินค้าในคาบสมุทรมลายู ทำให้อ่าวท่าเรือแห่งนี้ถูกกล่าวถึงอย่างบ่อยครั้งในอดีต เชื่อกันว่าย่าดวงเป็นผู้หญิงที่ปกป้องรักษาศาลหลักเมืองแห่งนี้ ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าตัวศาลหลักเมืองท่าเรือเองถูกสร้างขึ้นเมื่อไหร่
พิกัด: Google Maps
229 ซอย หลักเมือง 1 ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง ภูเก็ต 83110
Source: Signature of Phuket
พิกัด: Google Maps
พิกัด: Google Maps
พิกัด: Google Maps
165/39 ถ. เทพกระษัตรี ตำบล เทพกระษัตรี อำเภอถลาง ภูเก็ต 83110
Source: Signature of Phuket
สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2533 มีการบวงสรวงในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ของทุกปี
พิกัด: Google Maps
Source: สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดระนอง, Thai Tour
ยังไม่พบข้อมูล
ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสงขลา มีลักษณะเป็นศาลเจ้าแบบเก๋งจีน สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2385 ในสมัยของพระยาวิเชียรคีรี (เถี้ยนเส้ง ณ สงขลา) พร้อม ๆ กับการสร้างเมืองสงขลาแห่งใหม่ และยังได้มีการอัญเชิญองค์เทพตามความเชื่อจีน "เซ่งห๋องเหล่าเอี๋ย" มีประดิษฐานอีกด้วย
พิกัด: Google Maps
Source: จังหวัดสงขลา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หลักเมืองสุราษฎ์ ถูกสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 ตามสถาปัตยกรรมท้องถิ่นเก่าแก่ของอาณาจักรศรีวิชัย ที่มีความเจริญรุ่งเรืองอย่างมากในอดีต สถาปัตยกรรมท้องถิ่นนี้เองได้รับอิทธิพลมาจากลังกา ชวา และเขมร และมีการออกแบบศาลหลักเมืองให้คล้ายกับพระบรมธาตุไชยา บนยอดมีพระพักตร์พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 4 หน้า
พิกัด: Google Maps
Source: องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี, สำนักงานท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดสุราษฎ์ธานี และมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎ์ธานี
ตั้งอยู่ ณ จุดศูนย์กลางของผังเมืองรูปใยแมงมุม ยอดเสาหลักเมืองแกะเป็นรูปพระพรหม 4 หน้า ศาลหลักเมืองแห่งนี้ถูกสร้างขึ้นหลังจากมีการย้ายเมืองยะลาทั้งหมด 4 ครั้ง มีการจัดงานประจำปีช่วงปลายเดือนพฤษภาคม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505
พิกัด: Google Maps
Source: เทศบาลนครยะลา, Thailand Tourism Directory, สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดยะลา
ขอบคุณข้อมูลจาก:
สำนักงานกิจการศาลหลักเมือง; Signature of Phuket; ประวัติศาสตร์เมืองภูเก็ต; ศูนย์ข้อมูลการทางวัฒนธรรม;